มาเลเซีย...เสน่ห์แห่งเอเชีย
คำขวัญ: Bersekutu Bertambah Mutu
("ความเป็นเอกภาพคือพลัง")
("ความเป็นเอกภาพคือพลัง")
ประเทศมาเลเซีย (อังกฤษ: Malaysia) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แบ่งเป็น 2 ส่วน โดยมีทะเลจีนใต้กั้น ส่วนแรกคือ คาบสมุทรมลายู มีพรมแดนทิศเหนือติดประเทศไทย และทิศใต้ติดกับสิงคโปร์ ส่วนที่สองคือ ทางเหนือของเกาะบอร์เนียว มีพรมแดนทิศใต้ติดอินโดนีเซีย และมีพรมแดนล้อมรอบประเทศบรูไน มาเลเซียเป็นสมาชิกก่อตั้งของกลุ่มประเทศอาเซียน
คำว่ามาเลเซียเคยถูใช้เรียกหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มาก่อน
ชื่อของประเทศมาเลเซียถูกตั้งขึ้นเมือ พ.ศ. 2506 โดยมีความหมายรวมเอาสหพันธรัฐมาลายา สิงค์โปร์ ซาบาห์ ซาราวัก และบรูไนเข้าด้วยกัน คำว่า มาเลเซียนี้เดิมเคยถูกใช้เป็นชื่อเรียกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในส่วนที่เป็นหมู่เกาะมาก่อน ซึ่งปรากฏหลังฐานจากแผนที่ที่ตีพิมพ์ในชิคาโกเมื่อปีพ.ศ. 2457 ในการตั้งชื่อประเทศมาเลเซียนั้นมีการนำเสนอชื่ออื่นๆ มากมายก่อนที่จะได้ผลสรุปให้ใช้ชื่อมาเลเซีย
ภูมิประเทศ
มาเลเซียตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยดินแดน 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ มาเลเซียตะวันตกมาเลเซีย ตะวันออก อยู่ห่างกันประมาณ 400 ไมล์โดยมีทะเลจีนใต้ขวางกั้นมาเลเซียเดิมเป็นดินแดนที่มีการปกครองต่างหากจากกัน ได้มารวมเป็นประเทศเดียวกันเมื่อ พ.ศ. 2506 มาเลเซีย มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 130,000 ตารางไมล์ มาเลเซีย ตะวันตก ได้แก่ ดินแดนที่อยู่ในคาบสมุทรมลายูหรือมลายา ติดชายแดนทางใต้ของประเทศไทย มีเนื้อที่ประมาณ 50,800 ตารางไมล์ มาเลเซีย ประกอบด้วยรัฐต่างๆ 11 รัฐ ตอนกลางเป็นที่ราบสูง มีภูเขาใหญ่หลายเทือกปกคลุมด้วยป่าทึบบริเวณกว้างขวาง แถบริมฝั่งทะเลทั้ง 2 ข้างเป็นที่ราบดินอุดมสมบูรณ์ ชายฝั่งทะเลตะวันตกเป็นหาดเลนยาวพื้นที่มีหล่มบึงมาก ส่วนด้านตะวันออกของ
มาเลเซียตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยดินแดน 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ มาเลเซียตะวันตกมาเลเซีย ตะวันออก อยู่ห่างกันประมาณ 400 ไมล์โดยมีทะเลจีนใต้ขวางกั้นมาเลเซียเดิมเป็นดินแดนที่มีการปกครองต่างหากจากกัน ได้มารวมเป็นประเทศเดียวกันเมื่อ พ.ศ. 2506 มาเลเซีย มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 130,000 ตารางไมล์ มาเลเซีย ตะวันตก ได้แก่ ดินแดนที่อยู่ในคาบสมุทรมลายูหรือมลายา ติดชายแดนทางใต้ของประเทศไทย มีเนื้อที่ประมาณ 50,800 ตารางไมล์ มาเลเซีย ประกอบด้วยรัฐต่างๆ 11 รัฐ ตอนกลางเป็นที่ราบสูง มีภูเขาใหญ่หลายเทือกปกคลุมด้วยป่าทึบบริเวณกว้างขวาง แถบริมฝั่งทะเลทั้ง 2 ข้างเป็นที่ราบดินอุดมสมบูรณ์ ชายฝั่งทะเลตะวันตกเป็นหาดเลนยาวพื้นที่มีหล่มบึงมาก ส่วนด้านตะวันออกของ
มาเลเซียเป็นหาดทรายยาวเหยียด ไม่เหมาะแก่การเป็นท่าเรือ มาเลเซียตะวันออก ได้แก่ ดินแดนทางภาคเหนือของเกาะบอร์เนียว มีเนื้อที่ประมาณ 70,200 ตารางไมล์ ประกอบด้วยรัฐ 2 รัฐคือซาราวัก และซาบาห์ (บอร์เนียวเหนือ) พื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่สูง ประกอบด้วยป่าทึบและภูเขาสูงใหญ่ บางยอดเขาสูงเกินกว่าหมื่นฟุตมีที่ราบขนาดย่อมอยู่ตามริมฝั่งทะเล แม่น้ำมักเป็นสายสั้นๆ และไหลเชี่ยวผ่านหุบเขาที่แคบและลาดชันไปออกทะเลทางทิศตะวันตก
ลักษณะภูมิอากาศประเทศมาเลเซีย
มาเลเซียตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มีอากาศร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร อยู่ในอิทธิพลของลมมรสุม มีอากาศร้อนชื้นตลอดทั้งปีช่วงเวลากลางคืน อุณหภูมิต่ำสุดจะอยู่ประมาณ 20 องศาเซลเซียส ขณะที่ช่วงอุณหภูมิที่สูงสุดอยู่ที่ 30 องศาเซลเซียส ช่วงที่มีความแห้งแล้งที่สุด อยู่ในช่วงเดือนมิถุนายน
มาเลเซียตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มีอากาศร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร อยู่ในอิทธิพลของลมมรสุม มีอากาศร้อนชื้นตลอดทั้งปีช่วงเวลากลางคืน อุณหภูมิต่ำสุดจะอยู่ประมาณ 20 องศาเซลเซียส ขณะที่ช่วงอุณหภูมิที่สูงสุดอยู่ที่ 30 องศาเซลเซียส ช่วงที่มีความแห้งแล้งที่สุด อยู่ในช่วงเดือนมิถุนายน
เมืองหลวงของมาเลเซีย ชื่อ กรุงกัวลาลัมเปอร์
เมืองศูนย์กลางธุรกิจของมาเลเซีย อิโปห์ มาลักกา บูหารู คลาง ปีนัง กัวลาลัมเปอร์
เมืองท่าของมาเลเซีย คือ Port Klang และปีนัง
ลักษณะการปกครองของมาเลเซีย คือ ประชาธิปไตย มีกษัตริย์เป็นประมุข
เมืองศูนย์กลางธุรกิจของมาเลเซีย อิโปห์ มาลักกา บูหารู คลาง ปีนัง กัวลาลัมเปอร์
เมืองท่าของมาเลเซีย คือ Port Klang และปีนัง
ลักษณะการปกครองของมาเลเซีย คือ ประชาธิปไตย มีกษัตริย์เป็นประมุข
จำนวนประชากรประเทศมาเลเซีย ประมาณ 23.8 ล้านคน
พื้นที่ประเทศมาเลเซีย คือ 330,434 ตารางกิโลเมตร
เชื้อชาติประเทศมาเลเซีย พลเมืองส่วนใหญ่มีเชื้อชาติมลายู (58%) นอกนั้นเป็นชาวจีน (26%) ชาวอินเดีย(7%) ชาวเขาเผ่าต่างๆ (9%) เลือดผสมมลายูกับโปรตุเกส มลายูกับฮอลันดา มลายูกับอังกฤษ
ศาสนา ส่วนใหญ่ชาวมาเลเซียนับถือศาสนาอิสลาม(58%) พุทธ (30%) ฮินดู (8%) คริสต์เตียน เต๋า และศาสนา ประจำเผ่าของชนเผ่าส่วนน้อยในประเทศ เช่น ศาสนาของกลุ่มชาวเงาะป่าซาไก เป็นต้น
ภาษาที่ใช้ในมาเลเซีย คือ ภาษามาเลย์ (ภาษาราชการ) อังกฤษ จีนต่างๆ ภาษาทมิฬ และภาษาประจำเผ่าของชนชาวเผ่า
ดอกไม้ประจำชาติมาเลเซีย ดอกชบา
เขตเวลา GMT / UTC+8
พื้นที่ประเทศมาเลเซีย คือ 330,434 ตารางกิโลเมตร
เชื้อชาติประเทศมาเลเซีย พลเมืองส่วนใหญ่มีเชื้อชาติมลายู (58%) นอกนั้นเป็นชาวจีน (26%) ชาวอินเดีย(7%) ชาวเขาเผ่าต่างๆ (9%) เลือดผสมมลายูกับโปรตุเกส มลายูกับฮอลันดา มลายูกับอังกฤษ
ศาสนา ส่วนใหญ่ชาวมาเลเซียนับถือศาสนาอิสลาม(58%) พุทธ (30%) ฮินดู (8%) คริสต์เตียน เต๋า และศาสนา ประจำเผ่าของชนเผ่าส่วนน้อยในประเทศ เช่น ศาสนาของกลุ่มชาวเงาะป่าซาไก เป็นต้น
ภาษาที่ใช้ในมาเลเซีย คือ ภาษามาเลย์ (ภาษาราชการ) อังกฤษ จีนต่างๆ ภาษาทมิฬ และภาษาประจำเผ่าของชนชาวเผ่า
ดอกไม้ประจำชาติมาเลเซีย ดอกชบา
เขตเวลา GMT / UTC+8
กรุงกัวลาลัมเปอร์เมืองหลวงของประเทศมาเลเซีย ตั้งยู่ในเมืองเซลังงอร์ ใกล้ชายฝั่งตะวันตกของบริเวณแหลมมลายู บริเวณกรุงกัวลาลัมเปอร์และบริเวณรอบนอกมีแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจหลายแห่ง ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้าง การเดินทางจากกรุงเทพฯ ไปยังกรุงกัวลาลัมเปอร์นี้ใช้เวลาเพียง 2 ชั่วโมงเท่านั้น โดยไปลงจอดที่นามบิน KLIA ซึ่งเป็น สนามบินที่มีความทันสมัย สะดวกสบายมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก
การเมือง
ปัจจุบันมาเลเซียประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐและปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มาเลเซียมีรูปแบบการปกครองคล้ายอังกฤษกับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประมุขแห่งรัฐมีตำแหน่งเป็นพระราชาธิบดี
ปัจจุบันมาเลเซียประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐและปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มาเลเซียมีรูปแบบการปกครองคล้ายอังกฤษกับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประมุขแห่งรัฐมีตำแหน่งเป็นพระราชาธิบดี
การแบ่งเขตการปกครอง
มาเลเซีย แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 13 รัฐ (states - negeri-negeri) และ 3 ดินแดนสหพันธ์* (federal territories - wilayah-wilayah persekutuan) เป็นดินแดนที่รัฐบาลกลางปกครอง เขตการปกครองต่าง ๆ และชื่อเมืองหลวง ได้แก่
รัฐมาเลเซียตะวันตก (คาบสมุทรมาเลย์)
• กลันตัน (โกตาบารู)
• เกดะห์ (ไทรบุรี) (อลอร์สตาร์)
• ตรังกานู (กัวลาตรังกานู)
• เนกรีเซมบีลัน (สเรมบัน)
• ปะหัง (กวนตัน)
• ปะลิส (กังการ์)
• ปีนัง (จอร์จทาวน์)
• เประ (อีโปห์)
• มะละกา (มะละกา)
• ยะโฮร์ (ยะโฮร์บาห์รู)
• สลังงอร์ (ชาห์อาลัม)
มาเลเซีย แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 13 รัฐ (states - negeri-negeri) และ 3 ดินแดนสหพันธ์* (federal territories - wilayah-wilayah persekutuan) เป็นดินแดนที่รัฐบาลกลางปกครอง เขตการปกครองต่าง ๆ และชื่อเมืองหลวง ได้แก่
รัฐมาเลเซียตะวันตก (คาบสมุทรมาเลย์)
• กลันตัน (โกตาบารู)
• เกดะห์ (ไทรบุรี) (อลอร์สตาร์)
• ตรังกานู (กัวลาตรังกานู)
• เนกรีเซมบีลัน (สเรมบัน)
• ปะหัง (กวนตัน)
• ปะลิส (กังการ์)
• ปีนัง (จอร์จทาวน์)
• เประ (อีโปห์)
• มะละกา (มะละกา)
• ยะโฮร์ (ยะโฮร์บาห์รู)
• สลังงอร์ (ชาห์อาลัม)
มาเลเซียตะวันออก (เกาะบอร์เนียวตอนเหนือ)
• ซาบาห์ (โกตากินะบะลู)
• ซาราวัก (กูจิง)
• ซาบาห์ (โกตากินะบะลู)
• ซาราวัก (กูจิง)
ทรัพยากรธรรมชาติ น้ำมันดิบ ก๊าสธรรมชาติ ดีบุก ไม้ ทองแดง เหล็ก บ็อกไซด์
ผลผลิตทางการเกษตร ยางพารา นำมันปาล์ม โกโก้ ข้าว พริกไทย สับปะรดอุตสาหกรรมหลัก เครื่องไฟฟ้าและอิเล็คโทรนิกส์ สิ่งทอ ยางพารา รถยนต์ น้ำมัน ไม้
ผลผลิตทางการเกษตร ยางพารา นำมันปาล์ม โกโก้ ข้าว พริกไทย สับปะรดอุตสาหกรรมหลัก เครื่องไฟฟ้าและอิเล็คโทรนิกส์ สิ่งทอ ยางพารา รถยนต์ น้ำมัน ไม้
เศรษฐกิจประเทศมาเลเซียเกษตรกรรม มาเลเซียเป็นแหล่งผลิตยางพาราที่สำคัญของโลก และข้าวเจ้าปลูกมากบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำทั้ง 2 ด้าน
สินค้าเข้าที่สำคัญ ไม้แปรรูป เครื่องยนต์และอุปกรณ์ ปุ๋ยและยากำจัดศัตรูพืช เครื่องใช้
ไฟฟ้า สัตว์น้ำมีชีวิต ผัก ส่วนประกอบโครงรถและตัวถัง เครื่องจักรไฟฟ้าในการผลิต
และส่วนประกอบ ไม้หมอนหนุนรางรถไฟ ดอกไม้สด อาหาร อุปกรณ์ขนส่ง เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์พลาสติก หนังดิบและหนังฟอก
ไฟฟ้า สัตว์น้ำมีชีวิต ผัก ส่วนประกอบโครงรถและตัวถัง เครื่องจักรไฟฟ้าในการผลิต
และส่วนประกอบ ไม้หมอนหนุนรางรถไฟ ดอกไม้สด อาหาร อุปกรณ์ขนส่ง เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์พลาสติก หนังดิบและหนังฟอก
สินค้าออกที่สำคัญ นำมันปิโตรเลียม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ยางพาราไม้แปรรูป สิ่งทอ ดีบุก แก๊สธรรมชาติ นำมันปาล์ม สัตว์น้ำมีชีวิต อาหารทะเลกระป๋องแปรรูป ผักสดผลไม้ ปลาป่น รถยนต์ ขนสัตว์ เสื้อผ้าสำเร็จรูป สายเคเบิ้ล อิฐ
เงินสกุลมาเลเซีย
มาเลเซีย ใช้เงินสกุล ริงกิต ชื่ออักษรย่อว่า RM (MYR) เงินที่ใช้จ่ายในมาเลเซียมีทั้งเหรียญ และธนบัตร อัตราแลกเปลี่ยน จะขึ้นๆลงๆอยู่ประมาณที่ 10-12 บาท ต่อ 1 ริงกิต (เดือน มค. 45)เศรษฐกิจประเทศมาเลเซียเกษตรกรรม มาเลเซียเป็นแหล่งผลิตยางพาราที่สำคัญของโลก และข้าวเจ้าปลูกมากบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำทั้ง 2 ด้าน
มาเลเซีย ใช้เงินสกุล ริงกิต ชื่ออักษรย่อว่า RM (MYR) เงินที่ใช้จ่ายในมาเลเซียมีทั้งเหรียญ และธนบัตร อัตราแลกเปลี่ยน จะขึ้นๆลงๆอยู่ประมาณที่ 10-12 บาท ต่อ 1 ริงกิต (เดือน มค. 45)เศรษฐกิจประเทศมาเลเซียเกษตรกรรม มาเลเซียเป็นแหล่งผลิตยางพาราที่สำคัญของโลก และข้าวเจ้าปลูกมากบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำทั้ง 2 ด้าน
วัฒนธรรม
มาเลเซีย มีสภาพคล้ายคลึงกับประเทศอินโดนีเชีย ชึ่งเป็นหมู่เกาะอิทธิพลของศาสนาอิสลามได้แพร่เข้ามาในแหลมมลายู ประชากรชาวมาเลเซียนับถือศาสนาอิสลาม 55% นับถือศาสนาพุทธ 25% นับถือศาสนาคริสต์ 13% นับถือศาสนาฮินดู 7% และลัทธิศาสนาพื้นเมือง 4% แต่การหันไปนับถือศาสนาอื่นที่ไม่ใช่อิสลามเป็นปัญหาอย่างมากเนื่องจากทางภาครัฐจะไม่เปลี่ยนข้อมูลทางราชการให้ มาเลเซียบัญญัติในรัฐธรรมนูญให้ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจำชาติ และผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะมีสิทธิพิเศษ คือ ได้รับเงินอุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณะสุข การคลอดบุตร งานแต่งงานและงานศพตามนโยบาย "ภูมิบุตร"
มาเลเซีย มีสภาพคล้ายคลึงกับประเทศอินโดนีเชีย ชึ่งเป็นหมู่เกาะอิทธิพลของศาสนาอิสลามได้แพร่เข้ามาในแหลมมลายู ประชากรชาวมาเลเซียนับถือศาสนาอิสลาม 55% นับถือศาสนาพุทธ 25% นับถือศาสนาคริสต์ 13% นับถือศาสนาฮินดู 7% และลัทธิศาสนาพื้นเมือง 4% แต่การหันไปนับถือศาสนาอื่นที่ไม่ใช่อิสลามเป็นปัญหาอย่างมากเนื่องจากทางภาครัฐจะไม่เปลี่ยนข้อมูลทางราชการให้ มาเลเซียบัญญัติในรัฐธรรมนูญให้ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจำชาติ และผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะมีสิทธิพิเศษ คือ ได้รับเงินอุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณะสุข การคลอดบุตร งานแต่งงานและงานศพตามนโยบาย "ภูมิบุตร"
การแต่งกาย
นักท่องเที่ยวต้องแต่งกายให้เหมาะสม หากจะเข้าชมมัสยิดหรือวัด สำหรับสตรีควรแต่งกายสุภาพ กระโปรงยาวคลุมเข่า ห้ามใส่เสื้อทีเชิ้ต เสื้อกล้าม กางเกงขาสั้น รองเท้าแตะ และรองเท้าโปร่ง ผู้เยือนชาย ควรใส่เสื้อมีปก และกางเกงขายาว ผู้เยือนหญิง ไม่ควรใส่เสื้อผ้าที่เปิดมาก
แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของมาเลเซีย
ตึกเปโตรนาส,มาเลเซีย
ตึกเปโตรนาส,มาเลเซีย
ตึกเปโตรนาส (Petronas Twin Tower) เป็นตึกแฝดที่สูงที่สุดในโลก มีความสูงถึง 452 เมตร มีชั้นทั้งหมด 88 ชั้น โดยทางการใช้งบประมาณการก่อสร้างตึกเปโตรนาสทั้งหมด 20,000 ล้านบาท ซึ่งเจ้าของตึกเปโตรนาสเป็นเจ้าของผู้ผลิตน้ำมันยี่ห้อเปโตรนาส ชื่อเดียวกับตึกนั่นเอง การออกแบบตึกได้รับแรงบันดาลใจจากลักษณะของเสาหินทั้ง 5 ของอิสลาม นอกจากความสวยงามและความสูงของตึกเปโตรนาส ที่ทำให้คนทั่วโลกต้องตะลึงแล้ว ภายในตึกเปโตรนาสยังเป็นแหล่งรวมความรู้ ศิลปะวัฒนธรรม ดนตรี บันเทิงและแหล่งช็อปปิ้งขนาดใหญ่อีกด้วย ขณะที่ ชั้น 4 ของตึกแห่งนี้ เป็นศูนย์วิทยาศาสตร์ขนาดใหญ่ที่ทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่ง เรียกว่า เปโตรซายน์ส (Petrosains) ที่นี่คุณจะได้ชมธรรมชาติที่ถูกสร้างขึ้นมาโดยจำลองเป็นป่า โดยการใช้ภาพสไลด์มัลติวิชั่นฉายประกอบ นอกจากนี้ คุณยังได้ย้อนกลับไปสู่โลกยุคเมื่อ200 ล้านปี ได้เห็นดินแดนไดโนเสาร์ และได้ดูการค้นพบน้ำมันด้วย
จัตุรัสเมอร์เดก้า ,มาเลเซีย
จัตุรัสเมอร์เดก้า (Merdeka Square) บริเวณจัตุรัสแห่งนี้ เป็นที่ตั้งของเสาธงที่สูงที่สุดในโลก ซึ่งเป็นธงชาติประจำชาติมาเลเซีย ที่ได้รับการชักขึ้นสู่ยอดเสา เมื่อเวลาเที่ยงคืนของวันที่ 3สิงหาคม ค.ศ. 1957 เมื่อได้รับเอกราชจากประเทศอังกฤษ ส่วนฝั่งตรงข้ามกับจัตุรัสฯ เป็นอาคารสุลต่านอับดุล ซาหมัด ซึ่งกลายเป็นสัญลักษณ์ของประเทศมาเลเซียไปแล้ว อาคารแห่งนี้เป็นสถาปัตยกรรมแบบมูริส อินเดียผสมผสานกับศิลปะแบบอาหรับ ความสูงของยอดโดมมีขนาดเท่ากับ 40 เมตร และหอนาฬิกาที่ตั้งตระหง่านอวดความสวยงามของตัวตึกและในเวลากลางคืน จะมีการติดไฟระยิบระยับเต็มไปหมด ยิ่งเพิ่มความสวยงามให้กับอาคารแห่งนี้
คาเมร่อนไฮแลนด์,มาเลเซีย
คาเมร่อนไฮแลนด์ เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดของมาเลเซีย ซึ่งมีความสูงถึง 4,500 ฟุต จึงทำให้อากาศที่นี่หนาวตลอดทั้งปี โรงแรม ที่พัก ที่นี่จะไม่มีแอร์ให้ แต่จะให้เราเปิดหน้าต่างเพื่อรับลมหนาวจากด้านนอกของตัวโรงแรม
เพราะว่าอุณหภูมิช่วงที่ร้อนสุดอยู่ที่ 25 องศา และ อากาศโดยปกติทั่วไปก็จะอยู่ที่ประมาณ 12 องศา จากระดับความสูงของยอดดอยแห่งนี้ ได้มีการแบ่งความสูงและชุมชนเมืองออกเป็น 3 ระดับชั้นหลักๆ ดังนี้
เพราะว่าอุณหภูมิช่วงที่ร้อนสุดอยู่ที่ 25 องศา และ อากาศโดยปกติทั่วไปก็จะอยู่ที่ประมาณ 12 องศา จากระดับความสูงของยอดดอยแห่งนี้ ได้มีการแบ่งความสูงและชุมชนเมืองออกเป็น 3 ระดับชั้นหลักๆ ดังนี้
ชั้นที่ 1 คือ ริงเล็ต
ชั้นที่ 2 คือ ทานาราตะ
ชั้นที่ 3 คือ บริงชาง
ชั้นที่ 2 คือ ทานาราตะ
ชั้นที่ 3 คือ บริงชาง
เนื่องจากอากาศที่หนาวเย็นตลอดทั้งปี ทำให้อาหารหลักของคนที่นี่จะต้องเป็นอาหารประเภทหม้อไฟร้อนๆ เพื่อสร้างความอบอุ่นให้กับร่างกาย คนที่นี่ชอบทานสุกี้หม้อไฟกันมากๆ เราสามารถหาทานได้ที่ตัวเมือง ซึ่งขับลงมาจากยอดดอยประมาณ 15 นาที ยอดดอย คาเมร่อนไฮแลนด์ มีไร่ชาที่ใหญ่มากๆ มองไปได้ไกลสุดลูกลูกตา นอกจากนั้นการชิมชาก็ถือเป็นสิ่งที่คนที่นี่นิยมทำกันเป็นอย่างมาก สำหรับใครที่ชอบสตรอเบอร์รี่ ที่นี่เค้ามีไร่สตรอเบอร์รี่ ที่มีลูกสตรอเบอร์รี่ลูกโตๆ แดงแป๊ด ให้เราได้ลิ้มลองรสชาติกันอีกด้วยหู
อนุเสาวรีย์แห่งชาติ(National Monument)
อนุเสาวรีย์แห่งชาติ(National Monument) ซึ่งจัดว่าเป็นอนุเสาวรีย์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็นการสร้างแบบลอยตัว โดยการหลอมรูปปั้นด้วยบรอนซ์ จากประเทศอิตาลี ซึ่งเป็นรูปปั้นขนาดใหญ่กว่าคนจริงหลายเท่า ที่มาของอนุสาวรีย์ มาจากในช่วงสมัยหนึ่งเกิดกลุ่มจีนคอมมิวนิสต์
กระจัดกระจายทั่วประเทศ ซึ่งรัฐบาลต้องใช้เวลานานถึง 15 ปี ในการปราบโจรและเพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ผู้กล้าหาญ ที่ได้เสียชีวิตในการปราบโจรคอมมิวนิสต์ ในปี ค.ศ. 1993อดีตนายกฯ ตนกู อับดุลราห์มาน จึงได้สั่งให้สร้างขึ้นอนุสาวรีย์แห่งชาติ
กระจัดกระจายทั่วประเทศ ซึ่งรัฐบาลต้องใช้เวลานานถึง 15 ปี ในการปราบโจรและเพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ผู้กล้าหาญ ที่ได้เสียชีวิตในการปราบโจรคอมมิวนิสต์ ในปี ค.ศ. 1993อดีตนายกฯ ตนกู อับดุลราห์มาน จึงได้สั่งให้สร้างขึ้นอนุสาวรีย์แห่งชาติ
ปุตราจาย(Putrajaya)
ปุตราจายอยู่ห่างจากตัวเมืองกัวลาลัมเปอร์ประมาณ 50 นาที ห่างจาก สนามบินนานาชาติไปไม่ไกลนัก บนพื้นที่กว้างใหญ่มหาศาลครอบคลุมพื้นที่เข้าทั้งลูก ถูกสร้างขึ้นให้เป็นเมืองใหม่ เป็นที่อยู่ของหน่วยราชการ ทุกกกระทรวง ทบวง กรมรวมทั้งรัฐสภา และบ้านของนายกฯ โดยรอบปุตราจายาจะเป็นพื้นที่บ้านจัดสรรที่สวยงามและคอนโดมีเนียมที่เป็นตึกสูง แต่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ซึ่งที่พักเหล่านี้สร้างเพื่อขายให้กับผู้ที่ต้องการมาอยู่ที่นี่ และให้กับข้าราชการแลเจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ นอกจากนี้ ยังมีเมืองสำคัญอีกแห่งหนึ่ง ที่กำลังก่อสร้างอยู่ใกล้ๆ กัน เพื่อเป็นเมืองแห่งอนาคต ชื่อเมืองไซเบอร์จายา ที่มีความก้าวล้ำนำสมัย ในด้านคอมพิวเตอร์รวมถึงมีการสร้างSmart People Smart Town และ Smart University โดยทั้งหมดเรียกว่า อาณาจักรMulti Media Super Corridor หรือ MSC คาดว่าการก่อสร้างดังกล่าวจะเสร็จสิ้นในปี 2020
สวนทะเลสาบ (Lake Garden)
สวนทะเลสาบ (Lake Garden) ตั้งอยู่นอกเมืองไปประมาณ 40 นาที สวนแห่งนี้เป็นสวนสาธารณะที่ทางรัฐบาล ได้สร้างให้แก่ชาวกัวลาลัมเปอร์ มีพื้นที่ถึง 916,000 ตารางเมตร ในสวนแห่งนี้ คุณจะได้สัมผัสกับสวนปฏิมากรรมจากภูมิภาคเอเชีย หรือที่เรียกว่าสวนอาเซี่ยน ซึ่งประเทศต่างๆ ในกลุ่มอาเซี่ยนได้สร้างให้เพื่อเป็นของขวัญแก่ประเทศมาเลเซียและมีสวนแบบไทยด้วย นอกจากนี้ ยังเป็นแหล่งสวนกล้วยไม้ ที่มีกว่า 800 ชนิด สวนกวาง ... สวนผีเสื้อหลากพันธ์...สวนนกที่เป็นแหล่งรวมนกที่มีมากถึง 5,000 ตัว รวมทั้งนกจากหลายๆ ประเทศ และไก่ฟ้าพญาลอที่หาชมยาก ในสวนทะเลสาบแห่งนี้ ยังเป็นที่ตั้งของ
ผู้ที่ไปมาเลเซียมาแล้ว มักจะพูดว่า “ถ้าไม่มีเก็นติ้งไฮแลนด์ นั่งกระเช้าลอยฟ้า ขึ้นไปเล่นกาสิโนบนยอดเขาแล้ว มาเลเซีย ก็ไม่เห็นมีอะไรน่าสนใจ” มาปีนี้มาเลเซียพลิกโฉมสร้างจุดขายใหม่ดึงนักท่องเที่ยวมาเที่ยวชายหาด ดำน้ำ ชมธรรมชาติ ช็อปปิ้งสินค้าแบรนด์เนมลดราคา
“มาเลเซียกำหนดให้ปีนี้เป็น “ปีท่องเที่ยวมาเลเซีย 2007” รัฐบาลทุ่มลงทุนมหาศาล เพื่อสร้างเมืองที่ทันสมัยให้เป็น “จุดขาย” พร้อมกับส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ ชายหาด เกาะแก่งที่สวยงาม การเที่ยวแบบผจญภัย และการดำน้ำทะเลลึก
เพื่อรองรับปีท่องเที่ยวที่จัดขึ้นในโอกาสครบรอบ 50 ปี ที่ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักร
ตลอดระยะเวลา 41 ปี จุดเด่นของการท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่จะไปมาเลเซีย อยู่ที่เมืองตากอากาศเก็นติ้งไฮแลนด์ สถานกาสิโนระดับชาติที่อยู่บนยอดเขาสูงกว่าระดับน้ำทะเล 6,000 ฟิต มีเครื่องเล่นเสี่ยงโชคต่างๆ และพบกับความตื่นเต้นในการนั่งกระเช้าลอยฟ้าระยะทาง 3.4 กิโลเมตร ไปหรือกลับเมืองหลวงกัวลาลัมเปอร์ เพื่อเสี่ยงโชค
แม้วงการท่องเที่ยวจะมีการประเมินว่า การท่องเที่ยวเส้นทางจีนแผ่นดินใหญ่จะเป็นเส้นทางที่เติบโตที่สุดในอนาคต เพราะมีความหลากหลายมาก ค่าใช้จ่ายก็ถูกกว่าเส้นทางอื่นมากแต่มาเลเซียก็ได้พยายามสร้างจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น เช่นกันกับสิงคโปร์ที่ทรัพยากรธรรมชาติไม่เอื้ออำนวย ไม่หลากหลายจึงต้องกำหนดนโยบาย
“มาเลเซียกำหนดให้ปีนี้เป็น “ปีท่องเที่ยวมาเลเซีย 2007” รัฐบาลทุ่มลงทุนมหาศาล เพื่อสร้างเมืองที่ทันสมัยให้เป็น “จุดขาย” พร้อมกับส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ ชายหาด เกาะแก่งที่สวยงาม การเที่ยวแบบผจญภัย และการดำน้ำทะเลลึก
เพื่อรองรับปีท่องเที่ยวที่จัดขึ้นในโอกาสครบรอบ 50 ปี ที่ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักร
ตลอดระยะเวลา 41 ปี จุดเด่นของการท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่จะไปมาเลเซีย อยู่ที่เมืองตากอากาศเก็นติ้งไฮแลนด์ สถานกาสิโนระดับชาติที่อยู่บนยอดเขาสูงกว่าระดับน้ำทะเล 6,000 ฟิต มีเครื่องเล่นเสี่ยงโชคต่างๆ และพบกับความตื่นเต้นในการนั่งกระเช้าลอยฟ้าระยะทาง 3.4 กิโลเมตร ไปหรือกลับเมืองหลวงกัวลาลัมเปอร์ เพื่อเสี่ยงโชค
แม้วงการท่องเที่ยวจะมีการประเมินว่า การท่องเที่ยวเส้นทางจีนแผ่นดินใหญ่จะเป็นเส้นทางที่เติบโตที่สุดในอนาคต เพราะมีความหลากหลายมาก ค่าใช้จ่ายก็ถูกกว่าเส้นทางอื่นมากแต่มาเลเซียก็ได้พยายามสร้างจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น เช่นกันกับสิงคโปร์ที่ทรัพยากรธรรมชาติไม่เอื้ออำนวย ไม่หลากหลายจึงต้องกำหนดนโยบาย
ลงทุน “สร้างแหล่งท่องเที่ยว” ด้วยเงินงบประมาณไว้สำหรับดึงดูดนักท่องเที่ยว ในหลายรูปแบบ
สถานที่ท่องเที่ยวในมาเลเซียที่นักท่องเที่ยวไทยนิยมไปมากที่สุดเห็นจะเป็นการเที่ยวชมวิวทิวทัศน์ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ถ่ายรูปกับหอคอยสูงเสียดฟ้า เคแอล ทาวเวอร์ ที่มีความสูงอันดับ 4 ของโลก และยังมีตึกแฝดทวิน ทาวเวอร์ ที่สูงที่สุดในโลก 451 เมตร และอนุสาวรีย์ทหารอาสา
มาเลเซียพยายามส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวใหม่ด้วยการนำชม “เมืองหลวงใหม่ปุตราจายา” เมืองราชการที่ตั้งที่ทำการของรัฐบาลและกระทรวงทบวงกรมต่างๆ ที่ตั้งรัฐสภา ที่ทำการนายกรัฐมนตรี มัสยิดสีชมพูสวยงามและยิ่งใหญ่
พร้อมๆ กับการสร้างเทศกาลในแหล่งเที่ยวช็อปปิ้ง มีการลดราคาสินค้าแบรนด์เนม แบบลดกระหน่ำในช่วงเดือนสิงหาคมของทุกปี 2020
สถานที่ท่องเที่ยวในมาเลเซียที่นักท่องเที่ยวไทยนิยมไปมากที่สุดเห็นจะเป็นการเที่ยวชมวิวทิวทัศน์ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ถ่ายรูปกับหอคอยสูงเสียดฟ้า เคแอล ทาวเวอร์ ที่มีความสูงอันดับ 4 ของโลก และยังมีตึกแฝดทวิน ทาวเวอร์ ที่สูงที่สุดในโลก 451 เมตร และอนุสาวรีย์ทหารอาสา
มาเลเซียพยายามส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวใหม่ด้วยการนำชม “เมืองหลวงใหม่ปุตราจายา” เมืองราชการที่ตั้งที่ทำการของรัฐบาลและกระทรวงทบวงกรมต่างๆ ที่ตั้งรัฐสภา ที่ทำการนายกรัฐมนตรี มัสยิดสีชมพูสวยงามและยิ่งใหญ่
พร้อมๆ กับการสร้างเทศกาลในแหล่งเที่ยวช็อปปิ้ง มีการลดราคาสินค้าแบรนด์เนม แบบลดกระหน่ำในช่วงเดือนสิงหาคมของทุกปี 2020
การเดินทาง
การเดินทางไปเที่ยวมาเลเซียนั้น ไปได้ทั้งทางบก ทางเรือ ทางอากาศ และทางรถไฟ ไม่ต้องขอวีซ่ามีพาสปอร์ตก็ไปได้เลย อยู่ได้ 30 วันคนที่ไม่ใช่ชาวมาเลเซีย จะต้องแสดงหนังสือเดินทางตอนเข้าประตู ผู้ถือหนังสือเดินทางไทยและหนังสือเดินทางมาเลเซียสามารถเดินทางระหว่างประเทศไทย มาเลเซีย เพื่อการท่องเที่ยวได้โดยไม่ต้องขอรับตรวจลงตรา และสามารถพำนักอยู่ในประเทศได้เป็นเวลา 30 วัน การเข้าเมือง การเดินทางเข้ามาเลเซีย สำหรับคนไทยไม่ต้องมีวีซ่าแต่ต้องมีหนังสือเดินทางที่ยังไม่หมดอายุหรือใช้เอกสารผ่านแดน (Border Pass) สำหรับบุคคลสัญชาติไทยที่มีภูมิลำเนาอยู่ใน 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ (นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา และสตูล) ผู้เข้าเมืองทุกคนต้องกรอกแบบฟอร์มการเดินทางเข้าเมือง (Disembaskation Form) และแบบฟอร์มแจ้งการถือครองเงิน (Travellers Declaration From – TDF) ซึ่งต้องกรอกทั้งขาเข้าและขาออกจากมาเลเซีย การถือครองเงิน นักเดินทางนำเข้าหรือนำออกเงินริงกิตจากมาเลเซียได้ไม่เกินคนละ 1,000 ริงกิต ส่วนการนำเงินตราต่างประเทศเข้ามาเลเซีย สามารถทำได้ไม่จำกัดจำนวน การนำเงินตราต่างประเทศออก นอกมาเลเซียโดยพลเมืองมาเลเซียเอง ทำได้ครั้งละไม่เกินมูลค่าเทียบเท่า 10,000 ริงกิต ส่วนผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองมาเลเซีย อนุญาตให้นำออกได้เท่ากับจำนวนที่นำเข้ามา เงินตรา สกุลริงกิต 1 ริงกิต ประมาณ 11 บาทไทย (สิงหาคม 2550
การตรวจลงตรา นักเดินทางที่ถือสัญชาติของประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียน และจะพำนักในมาเลเซียได้ไม่เกิน 1 เดือน โดยไม่ต้องขอรับการตรวจลงตรา หากต้องการพำนักเกิน 1 เดือน ต้องขอรับการตรวจลงตราก่อนเดินทางเข้ามาเลเซีย ยกเว้นบุคคลสัญชาติ
การเดินทาง เข้ารัฐกลันตันสามารถขับรถยนต์เข้าทางด่านสุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส ได้ในช่วงเวลา 05.00-21.00 น. หรือทางด่านตากใบ ตั้งแต่เวลา 05.00-18.00 น. ทั้งนี้ยานพาหนะที่ขับเข้ามาเลเซียต้องมีประกัน พ.ร.บ. บุคคลที่ 3
การเดินทาง เข้ารัฐกลันตันสามารถขับรถยนต์เข้าทางด่านสุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส ได้ในช่วงเวลา 05.00-21.00 น. หรือทางด่านตากใบ ตั้งแต่เวลา 05.00-18.00 น. ทั้งนี้ยานพาหนะที่ขับเข้ามาเลเซียต้องมีประกัน พ.ร.บ. บุคคลที่ 3
การเดินทางเข้ามาเลเซีย
การเดินทาง: การเดินทางเข้าสู่ประเทศมาเลเซีย สำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทย สามารถเลือกเดินทางได้หลายแบบ คือ
การเดินทางโดยเครื่องบิน: มาเลเซียเป็นประเทศที่มีสนามบินนานาชาติอยู่ถึง 5 แห่งด้วยกันค่ะ คือ ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ปีนัง ลังกาวี โกตาคินาบาลู และ กูชิง ส่วนสนามบินภายในประเทศ มีอยู่ 14 แห่ง ทั่วประเทศ
การเดินทางโดยรถโดยสารปรับอากาศ: การเดินทางจากกรุงเทพฯ สู่เมืองหาดใหญ่ด้วยรถโดยสารปรับอากาศ แล้วเดินทางต่อเข้าไปยังมาเลเซียด้วยรถตู้ปรับอากาศ หรือ รถโดยสารปรับอากาศ วิธีนี้ถือเป็นวิธีการเดินทางที่สะดวกมากและยังประหยัด
นอกจากนี้ ท่านยังสามารถเดินทางไปมาเลเซียได้โดยการโดยสารรถไฟ หรือ อาจขับรถยนต์ส่วนตัวไปก็ได้ค่ะ แต่เราไม่แนะนำวิธีการขับรถเข้าไปมาเลเซียเอง เพราะการดำเนินการค่อนข้างยุ่งยาก และมีค่าใช้จ่ายสูง ส่วนการเดินทางระหว่างเมืองต่างๆภายในประเทศมาเลเซียนั้นนับว่าสะดวกมาก การเดินทางด้วยรถโดยสารปรับอากาศจาก กรุงกัวลาลัมเปอร์ ไปยังเมืองต่างๆในประเทศ จัดว่าสะดวก และ ประหยัดที่สุด ทั้งยังเป็นวิธีการเดินทางที่คนมาเลย์นิยมมากที่สุดอีกด้วย ถ้าเรียกแท็กซี่ต้องต่อรอง ให้เรียกแท็กซี่มิเตอร์เท่านั้น ถ้าอยู่ในเมือง ถ้าไปนอกเมือง “ราคาจะสูงมาก”
ข้อแนะนำอย่าเผลอไปถ่มน้ำลายหรือทำสกปรกทิ้งก้นบุหรี่ที่เมืองนี้ เพราะมีการระเบียบและเรื่องกฎหมายนั้นเคร่งครัดมาก
ข้อควรระวังที่สุด ผู้ที่มียาเสพติดหรืออาวุธไว้ในครอบครอง มีโทษประหารชีวิตสถานเดียว ไม่มีการลดหย่อน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น